Members Login
Username 
 
Password 
    Remember Me  
Post Info TOPIC: พิธีประจำบ้าน แบบฮินดู


Veteran Member

Status: Offline
Posts: 42
Date:
พิธีประจำบ้าน แบบฮินดู
Permalink   


พิธีประจำบ้านแบบฮินดู

         พิธีนี้จำทำให้เฉพาะวรรณะกษัตริย์ วรรณะพราหมณ์ แบะวรรณะแพศย์ ซึ่งกำหนดไว้ให้มี 12 ประการ รวมเรียกว่า “พิธีสังสการ” ซึ่งมีการปฏิบัติตามลำดับขั้นดังนี้ คือ
 


ขั้นที่ 1 ครรภาธาน เป็นพิธีที่จัดขึ้นเมื่อทราบว่าตั้งครรภ์ ถัดจากวันวิวาห์
ขั้นที่ 2 ปุงสวัน เป็นพิธีปฏิบัติต่อเด็กในครรภ์ที่เข้าใจว่าเป็นเพศชาย
ขั้นที่ 3 สีมันโตนยัน เป็นพิธีตัดผมหญิงมีครรภ์ เมื่อครรภ์ได้ 4,6หรือ 8 เดือน
ขั้นที่ 4 ชาตกรรม พิธีคลอดบุตร
ขั้นที่ 5 นามกรรม พิธีตั้งชื่อเด็ก ในวันที่ 12 หรือ 14 ถัดจากวันคลอด
ขั้นที่ 6 นิษกรมณ์ พิธีนำเด็กออกไปดูแสงอาทิตย์ยามเช้า เมื่ออายุได้ 4 เดือน
ขั้นที่ 7 อันนปราศัน พิธีป้อนข้าวเด็กเมื่ออายุได้ 5 เดือน หรือ 6 เดือน
ขั้นที่ 8 จูฑากรรม พิธีโกนผมไว้จุก เมื่ออายุได้ 3 ขวบ
ขั้นที่ 9 เกศานตกรม พิธีตัดผม ถ้าเป็นวรรณะพราหมณ์ตัดเมื่ออายุ 16 ปี ถ้าวรรณะกษัตริย์ตัดเมื่ออายุ 22 ปี ถ้าวรรณแพศย์ตัดเมื่ออายุ 24 ปี
ขั้นที่10 อุปนัยน์ พิธีเริ่มการศึกษาเพื่อเป็นพราหมณ์โดยคล้องด้ายยัชโญปวีต
ขั้นที่11 สมาวรรตน์ พิธีกลับบ้าน ปฏิบัติเมื่อสำเร็จการศึกษาจากสำนักครูแล้ว
ขั้นที่12 วิวาหะ พิธีแต่งงาน


พิธีทั้ง 12 ประการนี้ ถ้าเป็นหญิงห้ามทำพิธีอุปนัยน์อย่างเดียว นอกนั้นทำได้หมดและห้ามสวดคัมภีร์พระเวท เพราะเป็นคัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ที่สงวนเฉพาะผู้ชายและคนบางวรรณะเท่านั้นในปัจจุบัน พวกพราหมณได้ลดพิธีปฏิบัติเหลือเพียง 4 อย่าง คือ

พิธีนามกรรม
อันนปราศัน
อุปนัยน์
วิวาหะ

พิธีศราท
เป็นพิธีสังเวยวิญญาณบรรพบุรุษด้วยข้าวบิณฑ์ (ก้อนข้าวสุก) เพื่อให้ผู้ตายไม่ต้องเป็นเปรตเร่รอน เมื่อได้รับข้าวแล้วจะ ได้ไปสู่สุคติอยู่ร่วมกับวิญญาณบรรพบุรุษ ผู้ทำศราทธ์ ถ้าเป็นลุกชายยิ่งจะช่วยให้พ่อพ้นขุนนรก “ปุตตะ” พิธีกระทำในวันที่หนึ่งก่อน วันเผาศพและวันที่ 11 นับจากวันตายจะทำพิธีใหญ่โดยญาติทั้งหญิงและชายสายบิดาและมารดาสืบขึ้นไป 3 ชั่วคนต้องมาร่วมพิธี ญาติเหล่านี้เรียกว่า


“สบิณฑ์” แปลว่า “ร่วมข้าวบิณฑ์” หลังจากนั้นทำพิธีเดือนละครั้งเอยไปตลอดไป แล้วจึงเปลี่ยนทำปีละครั้ง ถ้าหากทำพิธี เสร็จแล้วข้าวของเครื่องใช้จะต้องทิ้งในแม่น้ำหรือโคนต้นโพธิ์



พิธีบูชาเทวดา
เป็นพิธีที่มีหลากหลายตามชั้นวรรณะของตน ยิ่งวรรระต่ำยิ่งมีพิธีที่ผิดแปลกพิสดารออกไป แต่ถ้าเป็นพวกวรรณะสูงมีการปฏิบัติดังนี้ คือ


การสวดมนค์ภาวนา
การสมโภช ถือศีล และการกระทำพิธีกรรมในวันศักดิ์สิทธ์ ซึ่งแต่ละท้องที่อาจมีรูปแบบแตกต่างกันออกไป
การไปมนัสการบำเพ็ญกุศล ณ เทวสถาน


 
ศาสนาพราหมณ์หรือฮินดูไม่มีศาสดาจริงจังเหมือนศาสนาอื่นๆ เพราะคำสอนต่างๆ กลุ่มพราหมรณ์หรือพระฤๅษีผู้ศักดิ์สิทธิ์ ได้ยินหรือฟังจากเสียงทิพย์หรือเสียงสวรรค์ (ศรุติ) ด้วยตนเอง แล้วมีการจดจำไว้หรือถ่ายทอดต่อกันทางความทรงจำ (สมฤติ) ต่อมามีหัวหน้าลัทธิหรือผู้แต่งตำราทำให้คำสอนแพร่หลายยั่งยืนมาจนปัจจุบันนี้ ฉะนั้นในที่นี้ใคร่ขอรวบรวมสรุป กล่าวถึงผู้แต่งตำราหรือหัวหน้าลัทธิแทนชื่อ     ประวัติของศาสดา


1.วยาสะ ท่านผู้นี้ตามตำนานในคัมภีร์วิษณุปราณะ เล่ม 3 กล่าวไว้ว่าเป็นผู้รวบรวมเรียบเรียงคัมภีร์พระเวท คัมภรีย์ อิติหาสะ และคัมภีร์อุปราณะ อนึ่งผู้แต่งมหากาพย์ มหาภารตะ ก็ใช้ชื่อวยาสะด้วยจึงเป็นอันรวมความได้อย่างหนึ่งว่า ท่านวยาสะผู้เป็นฤษี คนสำคัญมีส่วนแต่งหรือรวบรวเรียบเรียงคัมภีร์ของศาสนาฮินดูไว้มากที่สุด ท่านผู้นี้อย่างตำนาน กล่าวว่ามิใช่ฤษีธรรมดา แต่เป็นเทพ ฤษี (Divine sage) ไม่ปรากฏเดือนปีที่เกิดแน่นอนเพราะเป็นอดีตหลายพันปี
 


2.วาลมีกิ เป็นชื่อของพระฤๅษีผู้แต่งมหากาพย์รามายณะ สันนิษฐานว่าประมาณปลายศตวรรษที่ 4 และต้นศตวรรษที่ 3 ก่อน ค.ศ.


3.โคตมะ หรือเคาตมะ ผู้ตั้งลัทธินยายะ สันนิษฐานว่าเกิดประมาณ 550 ปี ก่อน ค.ศ.


4.กณาทะ ผู้ตั้งลัทธิไวเศษิกะ สันนิษฐานว่าเกิดประมาณศตวรรษที่ 3 ก่อน ค.ศ.


5.กปิละ ผู้ตั้งลัทธิสางขยะ สันนิษฐานว่าเกิดในสมัยศตวรรษที่ 6 ก่อน ค.ศ.


6.ปตัญชลี ผู้ตั้งลัทธิโยคะ สันนิษฐานว่าเกิดในสมัยศตวรรษที่ 3 หรือ 4 ก่อน ค.ศ.


7.ไชมินิ ผู้ตั้งลัทธิมีมางสา หรือปูรวมีมางสา สันนิษฐานว่าเกิดระหว่างศตวรรษที่ 6 ถึงศตวรรษที่ 2 ก่อน ค.ศ.


8.พาทรายณะ ผู้ตั้งลิทธิเวทานตะหรืออุตตรมีมางสามีผู้กล่าวว่าเป็นครูเดียวกับวยาสะ และเกิดระหว่างศตวรรษที่ 6 ถึงศตวรรษที่ 2 ก่อน ค.ศ. บางท่านก็สันนิษฐานว่าเกิดระหว่างศตวรรษที่ 5 ถึงศตวรรษที่ 2 ก่อน ค.ศ.


9.มนุหรือมนู ผู้แต่งคัมภีร์ธรรมศาสตร์ สันนิษฐานว่าเกิดในสมัยศตวรรษที่ 5 ก่อน ค.ศ.


10.จารวากะ ผู้ให้กำเนิดลัทธิโลกายตะ หรือวัตถุนิยม ไม่มีประวัติแน่นอน มีแต่นิยายในคัมภีร์มหาภารตะว่าเป็น รากษส ปลอมเป็นพราหมณ์ไปแสดงลัทธินี้แล้วถูกฆ่าตาย ฉะนั้นจะว่าเป็นศาสดาก็ไม่ถนัดนักเพราะถูกกล่าวถึงในทาง เป็นผู้ร้ายมากกว่า


11.สังกราจารย์ ผู้แต่งอรรถกถาหรือคำอธิบายลัทธิเวทานตะ สันนิษฐานว่าเกิดระหว่าง ค.ศ. 788 ถึง ค.ศ. 820 แต่ เรื่องเล่ากล่าวกับสืบมาว่า ท่านผู้นี้เกิดในสมัย 200 ปี ก่อน ค.ศ. ซึ่งนับว่าห่างไกลกันมากท่าผู้นี้แต่งหนังสือไว้มากเรื่อง ด้วยกัน และถือกันว่าเป็นผู้ตั้งลัทธิ “อัทไวตะ” หรือ “เอกนิยม” คือ นับถือพระเจ้าองค์เดียวขึ้น


12.นาถมุนี (ค.ศ.824-ค.ศ.924) ถือกันว่าเป็นผู้นำคนแรกของลัทธิไวษณวะ


13.รามานุชาจารย์ (เกิด ค.ศ.1027 สิ้นชีพ ค.ศ.1137) ถือกันว่าเป็ฯคนสำคัญยิ่งของลัทธิไวษณวะและเจ้าของ ปรัชญาวิศิษฏาทไวตะ (เอกนิยมแบบพิเศษ) อันสืบเนื่องมาจากลัทธิเวทานตะ


14.มัธวาจารย์ (ค.ศ.1199-ค.ศ.1277) เป็นผู้นำท่านหนึ่งแห่งลัทธิไวษณะ และเจ้าของปรัชญาทไวตะ หรือทวินิยม อันสืบเนื่องมาจากลัทธิเวทานตะ


15.ลกุลีสะ (สมัยของท่านผู้นี้ยังไม่แน่) เป็นอาจารย์ใหญ่แห่งนิกายไศวะฝ่ายใต้ ผู้ตั้งนิกายปศุปตะ


16.วสุคุปตะ (ประมาณศตวรรษที่ 9 แห่ง ค.ศ.) เป็นผู้ตั้งลัทธิไศวะฝ่ายเหนือ หรือที่เรียกว่า “กาษมีรไศวะ”


17.รามโมหันรอย (ค.ศ.1774-1833) เป็นผู้ตั้งพรหมสมาช


18.สวามีทยานันทะสรัสวดี (ค.ศ.1824-1883) เป็นผู้ตั้งอารยสมาช

19.รามกฤษณะ (ค.ศ.1836-1886) เป็นผู้นำทางความรู้และการปฏิบัติเป็นต้นเหตุให้มีขยวนการรามกฤษณะมิชชั่น แม้ท่านจะมิได้ตั้งขึ้นเอง แต่สวามีวิเวกานันทะก็ตั้งขึ้นเพื่อเป็นเครื่องอนุสรณ์ถึง


แหล่ง ข้อมูล :  โบสถ์พราหมณ์ เสาชิงช้า



__________________
Anonymous

Date:
Permalink   

sriganapati wrote:

พิธีประจำบ้านแบบฮินดู

พิธีนี้จำทำให้เฉพาะวรรณะกษัตริย์ วรรณะพราหมณ์ แบะวรรณะแพศย์ ซึ่งกำหนดไว้ให้มี 12 ประการ รวมเรียกว่า พิธีสังสการ ซึ่งมีการปฏิบัติตามลำดับขั้นดังนี้ คือ


ขั้นที่ 1 ครรภาธาน เป็นพิธีที่จัดขึ้นเมื่อทราบว่าตั้งครรภ์ ถัดจากวันวิวาห์
ขั้นที่ 2 ปุงสวันเป็นพิธีปฏิบัติต่อเด็กในครรภ์ที่เข้าใจว่าเป็นเพศชาย
ขั้นที่ 3 สีมันโตนยัน เป็นพิธีตัดผมหญิงมีครรภ์ เมื่อครรภ์ได้ 4,6หรือ 8 เดือน
ขั้นที่ 4 ชาตกรรม พิธีคลอดบุตร
ขั้นที่ 5 นามกรรม พิธีตั้งชื่อเด็ก ในวันที่ 12 หรือ 14 ถัดจากวันคลอด
ขั้นที่ 6 นิษกรมณ์ พิธีนำเด็กออกไปดูแสงอาทิตย์ยามเช้า เมื่ออายุได้ 4 เดือน
ขั้นที่ 7 อันนปราศัน พิธีป้อนข้าวเด็กเมื่ออายุได้ 5 เดือน หรือ 6 เดือน
ขั้นที่ 8 จูฑากรรม พิธีโกนผมไว้จุก เมื่ออายุได้ 3 ขวบ
ขั้นที่ 9 เกศานตกรม พิธีตัดผม ถ้าเป็นวรรณะพราหมณ์ตัดเมื่ออายุ 16 ปี ถ้าวรรณะกษัตริย์ตัดเมื่ออายุ 22 ปี ถ้าวรรณแพศย์ตัดเมื่ออายุ 24 ปี
ขั้นที่10 อุปนัยน์ พิธีเริ่มการศึกษาเพื่อเป็นพราหมณ์โดยคล้องด้ายยัชโญปวีต
ขั้นที่11 สมาวรรตน์ พิธีกลับบ้าน ปฏิบัติเมื่อสำเร็จการศึกษาจากสำนักครูแล้ว
ขั้นที่12 วิวาหะ พิธีแต่งงาน


b6.gif พิธีทั้ง 12 ประการนี้ ถ้าเป็นหญิงห้ามทำพิธีอุปนัยน์อย่างเดียว นอกนั้นทำได้หมดและห้ามสวดคัมภีร์พระเวท เพราะเป็นคัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ที่สงวนเฉพาะผู้ชายและคนบางวรรณะเท่านั้นในปัจจุบัน พวกพราหมณได้ลดพิธีปฏิบัติเหลือเพียง 4 อย่าง คือ

พิธีนามกรรม
อันนปราศัน
อุปนัยน์
วิวาหะ

พิธีศราท
เป็นพิธีสังเวยวิญญาณบรรพบุรุษด้วยข้าวบิณฑ์ (ก้อนข้าวสุก) เพื่อให้ผู้ตายไม่ต้องเป็นเปรตเร่รอน เมื่อได้รับข้าวแล้วจะ ได้ไปสู่สุคติอยู่ร่วมกับวิญญาณบรรพบุรุษ ผู้ทำศราทธ์ ถ้าเป็นลุกชายยิ่งจะช่วยให้พ่อพ้นขุนนรก ปุตตะ พิธีกระทำในวันที่หนึ่งก่อน วันเผาศพและวันที่ 11 นับจากวันตายจะทำพิธีใหญ่โดยญาติทั้งหญิงและชายสายบิดาและมารดาสืบขึ้นไป 3 ชั่วคนต้องมาร่วมพิธี ญาติเหล่านี้เรียกว่า


สบิณฑ์ แปลว่า ร่วมข้าวบิณฑ์ หลังจากนั้นทำพิธีเดือนละครั้งเอยไปตลอดไป แล้วจึงเปลี่ยนทำปีละครั้ง ถ้าหากทำพิธี เสร็จแล้วข้าวของเครื่องใช้จะต้องทิ้งในแม่น้ำหรือโคนต้นโพธิ์



พิธีบูชาเทวดา
เป็นพิธีที่มีหลากหลายตามชั้นวรรณะของตน ยิ่งวรรระต่ำยิ่งมีพิธีที่ผิดแปลกพิสดารออกไป แต่ถ้าเป็นพวกวรรณะสูงมีการปฏิบัติดังนี้ คือ


การสวดมนค์ภาวนา
การสมโภช ถือศีล และการกระทำพิธีกรรมในวันศักดิ์สิทธ์ ซึ่งแต่ละท้องที่อาจมีรูปแบบแตกต่างกันออกไป
การไปมนัสการบำเพ็ญกุศล ณ เทวสถาน



b6.gif ศาสนาพราหมณ์หรือฮินดูไม่มีศาสดาจริงจังเหมือนศาสนาอื่นๆ เพราะคำสอนต่างๆ กลุ่มพราหมรณ์หรือพระฤๅษีผู้ศักดิ์สิทธิ์ ได้ยินหรือฟังจากเสียงทิพย์หรือเสียงสวรรค์ (ศรุติ) ด้วยตนเอง แล้วมีการจดจำไว้หรือถ่ายทอดต่อกันทางความทรงจำ (สมฤติ) ต่อมามีหัวหน้าลัทธิหรือผู้คำสอนแพร่หลายยั่งยืนมาจนปัจจุบันนี้ ฉะนั้นในที่นี้ใคร่ขอรวบรวมสรุป กล่าวถึงผู้แต่งตำราหรือหัวหน้าลัทธิแทนชื่อ ประวัติของศาสดา


1.วยาสะ ท่านผู้นี้ตามตำนานในคัมภีร์วิษณุปราณะ เล่ม 3 กล่าวไว้ว่าเป็นผู้รวบรวมเรียบเรียงคัมภีร์พระเวท คัมภรีย์ อิติหาสะ และคัมภีร์อุปราณะ อนึ่งผู้แต่งมหากาพย์ มหาภารตะ ก็ใช้ชื่อวยาสะด้วยจึงเป็นอันรวมความได้อย่างหนึ่งว่า ท่านวยาสะผู้เป็นฤษี คนสำคัญมีส่วนแต่งหรือรวบรวเรียบเรียงคัมภีร์ของศาสนาฮินดูไว้มากที่สุด ท่านผู้นี้อย่างตำนาน กล่าวว่ามิใช่ฤษีธรรมดา แต่เป็นเทพ ฤษี (Divine sage) ไม่ปรากฏเดือนปีที่เกิดแน่นอนเพราะเป็นอดีตหลายพันปี


2.วาลมีกิ เป็นชื่อของพระฤๅษีผู้แต่งมหากาพย์รามายณะ สันนิษฐานว่าประมาณปลายศตวรรษที่ 4 และต้นศตวรรษที่ 3 ก่อน ค.ศ.


3.โคตมะ หรือเคาตมะ ผู้ตั้งลัทธินยายะ สันนิษฐานว่าเกิดประมาณ 550 ปี ก่อน ค.ศ.


4.กณาทะ ผู้ตั้งลัทธิไวเศษิกะ สันนิษฐานว่าเกิดประมาณศตวรรษที่ 3 ก่อน ค.ศ.


5.กปิละ ผู้ตั้งลัทธิสางขยะ สันนิษฐานว่าเกิดในสมัยศตวรรษที่ 6 ก่อน ค.ศ.


6.ปตัญชลี ผู้ตั้งลัทธิโยคะ สันนิษฐานว่าเกิดในสมัยศตวรรษที่ 3 หรือ 4 ก่อน ค.ศ.


7.ไชมินิ ผู้ตั้งลัทธิมีมางสา หรือปูรวมีมางสา สันนิษฐานว่าเกิดระหว่างศตวรรษที่ 6 ถึงศตวรรษที่ 2 ก่อน ค.ศ.


8.พาทรายณะ ผู้ตั้งลิทธิเวทานตะหรืออุตตรมีมางสามีผู้กล่าวว่าเป็นครูเดียวกับวยาสะ และเกิดระหว่างศตวรรษที่ 6 ถึงศตวรรษที่ 2 ก่อน ค.ศ. บางท่านก็สันนิษฐานว่าเกิดระหว่างศตวรรษที่ 5 ถึงศตวรรษที่ 2 ก่อน ค.ศ.


9.มนุหรือมนู ผู้แต่งคัมภีร์ธรรมศาสตร์ สันนิษฐานว่าเกิดในสมัยศตวรรษที่ 5 ก่อน ค.ศ.


10.จารวากะ ผู้ให้กำเนิดลัทธิโลกายตะ หรือวัตถุนิยม ไม่มีประวัติแน่นอน มีแต่นิยายในคัมภีร์มหาภารตะว่าเป็น รากษส ปลอมเป็นพราหมณ์ไปแสดงลัทธินี้แล้วถูกฆ่าตาย ฉะนั้นจะว่าเป็นศาสดาก็ไม่ถนัดนักเพราะถูกกล่าวถึงในทาง เป็นผู้ร้ายมากกว่า


11.สังกราจารย์ ผู้แต่งอรรถกถาหรือคำอธิบายลัทธิเวทานตะ สันนิษฐานว่าเกิดระหว่าง ค.ศ. 788 ถึง ค.ศ. 820 แต่ เรื่องเล่ากล่าวกับสืบมาว่า ท่านผู้นี้เกิดในสมัย 200 ปี ก่อน ค.ศ. ซึ่งนับว่าห่างไกลกันมากท่าผู้นี้แต่งหนังสือไว้มากเรื่อง ด้วยกัน และถือกันว่าเป็นผู้ตั้งลัทธิ อัทไวตะ หรือ เอกนิยม คือ นับถือพระเจ้าองค์เดียวขึ้น


12.นาถมุนี (ค.ศ.824-ค.ศ.924) ถือกันว่าเป็นผู้นำคนแรกของลัทธิไวษณวะ


13.รามานุชาจารย์ (เกิด ค.ศ.1027 สิ้นชีพ ค.ศ.1137) ถือกันว่าเป็ฯคนสำคัญยิ่งของลัทธิไวษณวะและเจ้าของ ปรัชญาวิศิษฏาทไวตะ (เอกนิยมแบบพิเศษ) อันสืบเนื่องมาจากลัทธิเวทานตะ


14.มัธวาจารย์ (ค.ศ.1199-ค.ศ.1277) เป็นผู้นำท่านหนึ่งแห่งลัทธิไวษณะ และเจ้าของปรัชญาทไวตะ หรือทวินิยม อันสืบเนื่องมาจากลัทธิเวทานตะ


15.ลกุลีสะ (สมัยของท่านผู้นี้ยังไม่แน่) เป็นอาจารย์ใหญ่แห่งนิกายไศวะฝ่้ ผู้ตั้งนิกายปศุปตะ


16.วสุคุปตะ (ประมาณศตวรรษที่ 9 แห่ง ค.ศ.) เป็นผู้ตั้งลัทธิไศวะฝ่ายเหนือ หรือที่เรียกว่า กาษมีรไศวะ


17.รามโมหันรอย (ค.ศ.1774-1833) เป็นผู้ตั้งพรหมสมาช


18.สวามีทยานันทะสรัสวดี (ค.ศ.1824-1883) เป็นผู้ตั้งอารยสมาช

19.รามกฤษณะ (ค.ศ.1836-1886) เป็นผู้นำทางความรู้และการปฏิบัติเป็นต้นเหตุให้มีขยวนการรามกฤษณะมิชชั่น แม้ท่านจะมิได้ตั้งขึ้นเอง แต่สวามีวิเวกานันทะก็ตั้งขึ้นเพื่อเป็นเครื่องอนุสรณ์ถึง


แหล่ง ข้อมูล : โบสถ์พราหมณ์ เสาชิงช้า






__________________
Anonymous

Date:
Permalink   

sriganapati wrote:confuse

noพิธีประจำบ้านแบบฮินดู yawn

พิธีนี้จำทำให้เฉพาะวรรณะกษัตริย์ วรรณะพราหมณ์ แบะวรรณะแพศย์ ซึ่งกำหนดไว้ให้มี 12 ประการ รวมเรียกว่า พิธีสังสการ ซึ่งมีการปฏิบัติตามลำดับขั้นดังนี้ คือ


ขั้นที่ 1 ครรภาธาน เป็นพิธีที่จัดขึ้นเมื่อทราบว่าตั้งครรภ์ ถัดจากวันวิวาห์
ขั้นที่ 2 ปุงสวันเป็นพิธีปฏิบัติต่อเด็กในครรภ์ที่เข้าใจว่าเป็นเพศชาย
ขั้นที่ 3 สีมันโตนยัน เป็นพิธีตัดผมหญิงมีครรภ์ เมื่อครรภ์ได้ 4,6หรือ 8 เดือน
ขั้นที่ 4 ชาตกรรม พิธีคลอดบุตร
ขั้นที่ 5 นามกรรม พิธีตั้งชื่อเด็ก ในวันที่ 12 หรือ 14 ถัดจากวันคลอด
ขั้นที่ 6 นิษกรมณ์ พิธีนำเด็กออกไปดูแสงอาทิตย์ยามเช้า เมื่ออายุได้ 4 เดือน
ขั้นที่ 7 อันนปราศัน พิธีป้อนข้าวเด็กเมื่ออายุได้ 5 เดือน หรือ 6 เดือน
ขั้นที่ 8 จูฑากรรม พิธีโกนผมไว้จุก เมื่ออายุได้ 3 ขวบ
ขั้นที่ 9 เกศานตกรม พิธีตัดผม ถ้าเป็นวรรณะพราหมณ์ตัดเมื่ออายุ 16 ปี ถ้าวรรณะกษัตริย์ตัดเมื่ออายุ 22 ปี ถ้าวรรณแพศย์ตัดเมื่ออายุ 24 ปี
ขั้นที่10 อุปนัยน์ พิธีเริ่มการศึกษาเพื่อเป็นพราหมณ์โดยคล้องด้ายยัชโญปวีต
ขั้นที่11 สมาวรรตน์ พิธีกลับบ้าน ปฏิบัติเมื่อสำเร็จการศึกษาจากสำนักครูแล้ว
ขั้นที่12 วิวาหะ พิธีแต่งงาน


b6.gif พิธีทั้ง 12 ประการนี้ ถ้าเป็นหญิงห้ามทำพิธีอุปนัยน์อย่างเดียว นอกนั้นทำได้หมดและห้ามสวดคัมภีร์พระเวท เพราะเป็นคัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ที่สงวนเฉพาะผู้ชายและคนบางวรรณะเท่านั้นในปัจจุบัน พวกพราหมณได้ลดพิธีปฏิบัติเหลือเพียง 4 อย่าง คือ

พิธีนามกรรม
อันนปราศัน
อุปนัยน์
วิวาหะ

พิธีศราท
เป็นพิธีสังเวยวิญญาณบรรพบุรุษด้วยข้าวบิณฑ์ (ก้อนข้าวสุก) เพื่อให้ผู้ตายไม่ต้องเป็นเปรตเร่รอน เมื่อได้รับข้าวแล้วจะ ได้ไปสู่สุคติอยู่ร่วมกับวิญญาณบรรพบุรุษ ผู้ทำศราทธ์ ถ้าเป็นลุกชายยิ่งจะช่วยให้พ่อพ้นขุนนรก ปุตตะ พิธีกระทำในวันที่หนึ่งก่อน วันเผาศพและวันที่ 11 นับจากวันตายจะทำพิธีใหญ่โดยญาติทั้งหญิงและชายสายบิดาและมารดาสืบขึ้นไป 3 ชั่วคนต้องมาร่วมพิธี ญาติเหล่านี้เรียกว่า


สบิณฑ์ แปลว่า ร่วมข้าวบิณฑ์ หลังจากนั้นทำพิธีเดือนละครั้งเอยไปตลอดไป แล้วจึงเปลี่ยนทำปีละครั้ง ถ้าหากทำพิธี เสร็จแล้วข้าวของเครื่องใช้จะต้องทิ้งในแม่น้ำหรือโคนต้นโพธิ์



พิธีบูชาเทวดา
เป็นพิธีที่มีหลากหลายตามชั้นวรรณะของตน ยิ่งวรรระต่ำยิ่งมีพิธีที่ผิดแปลกพิสดารออกไป แต่ถ้าเป็นพวกวรรณะสูงมีการปฏิบัติดังนี้ คือ


การสวดมนค์ภาวนา
การสมโภช ถือศีล และการกระทำพิธีกรรมในวันศักดิ์สิทธ์ ซึ่งแต่ละท้องที่อาจมีรูปแบบแตกต่างกันออกไป
การไปมนัสการบำเพ็ญกุศล ณ เทวสถาน



b6.gif ศาสนาพราหมณ์หรือฮินดูไม่มีศาสดาจริงจังเหมือนศาสนาอื่นๆ เพราะคำสอนต่างๆ กลุ่มพราหมรณ์หรือพระฤๅษีผู้ศักดิ์สิทธิ์ ได้ยินหรือฟังจากเสียงทิพย์หรือเสียงสวรรค์ (ศรุติ) ด้วยตนเอง แล้วมีการจดจำไว้หรือถ่ายทอดต่อกันทางความทรงจำ (สมฤติ) ต่อมามีหัวหน้าลัทธิหรือผู้คำสอนแพร่หลายยั่งยืนมาจนปัจจุบันนี้ ฉะนั้นในที่นี้ใคร่ขอรวบรวมสรุป กล่าวถึงผู้แต่งตำราหรือหัวหน้าลัทธิแทนชื่อ ประวัติของศาสดา


1.วยาสะ ท่านผู้นี้ตามตำนานในคัมภีร์วิษณุปราณะ เล่ม 3 กล่าวไว้ว่าเป็นผู้รวบรวมเรียบเรียงคัมภีร์พระเวท คัมภรีย์ อิติหาสะ และคัมภีร์อุปราณะ อนึ่งผู้แต่งมหากาพย์ มหาภารตะ ก็ใช้ชื่อวยาสะด้วยจึงเป็นอันรวมความได้อย่างหนึ่งว่า ท่านวยาสะผู้เป็นฤษี คนสำคัญมีส่วนแต่งหรือรวบรวเรียบเรียงคัมภีร์ของศาสนาฮินดูไว้มากที่สุด ท่านผู้นี้อย่างตำนาน กล่าวว่ามิใช่ฤษีธรรมดา แต่เป็นเทพ ฤษี (Divine sage) ไม่ปรากฏเดือนปีที่เกิดแน่นอนเพราะเป็นอดีตหลายพันปี


2.วาลมีกิ เป็นชื่อของพระฤๅษีผู้แต่งมหากาพย์รามายณะ สันนิษฐานว่าประมาณปลายศตวรรษที่ 4 และต้นศตวรรษที่ 3 ก่อน ค.ศ.


3.โคตมะ หรือเคาตมะ ผู้ตั้งลัทธินยายะ สันนิษฐานว่าเกิดประมาณ 550 ปี ก่อน ค.ศ.


4.กณาทะ ผู้ตั้งลัทธิไวเศษิกะ สันนิษฐานว่าเกิดประมาณศตวรรษที่ 3 ก่อน ค.ศ.


5.กปิละ ผู้ตั้งลัทธิสางขยะ สันนิษฐานว่าเกิดในสมัยศตวรรษที่ 6 ก่อน ค.ศ.


6.ปตัญชลี ผู้ตั้งลัทธิโยคะ สันนิษฐานว่าเกิดในสมัยศตวรรษที่ 3 หรือ 4 ก่อน ค.ศ.


7.ไชมินิ ผู้ตั้งลัทธิมีมางสา หรือปูรวมีมางสา สันนิษฐานว่าเกิดระหว่างศตวรรษที่ 6 ถึงศตวรรษที่ 2 ก่อน ค.ศ.


8.พาทรายณะ ผู้ตั้งลิทธิเวทานตะหรืออุตตรมีมางสามีผู้กล่าวว่าเป็นครูเดียวกับวยาสะ และเกิดระหว่างศตวรรษที่ 6 ถึงศตวรรษที่ 2 ก่อน ค.ศ. บางท่านก็สันนิษฐานว่าเกิดระหว่างศตวรรษที่ 5 ถึงศตวรรษที่ 2 ก่อน ค.ศ.


9.มนุหรือมนู ผู้แต่งคัมภีร์ธรรมศาสตร์ สันนิษฐานว่าเกิดในสมัยศตวรรษที่ 5 ก่อน ค.ศ.


10.จารวากะ ผู้ให้กำเนิดลัทธิโลกายตะ หรือวัตถุนิยม ไม่มีประวัติแน่นอน มีแต่นิยายในคัมภีร์มหาภารตะว่าเป็น รากษส ปลอมเป็นพราหมณ์ไปแสดงลัทธินี้แล้วถูกฆ่าตาย ฉะนั้นจะว่าเป็นศาสดาก็ไม่ถนัดนักเพราะถูกกล่าวถึงในทาง เป็นผู้ร้ายมากกว่า


11.สังกราจารย์ ผู้แต่งอรรถกถาหรือคำอธิบายลัทธิเวทานตะ สันนิษฐานว่าเกิดระหว่าง ค.ศ. 788 ถึง ค.ศ. 820 แต่ เรื่องเล่ากล่าวกับสืบมาว่า ท่านผู้นี้เกิดในสมัย 200 ปี ก่อน ค.ศ. ซึ่งนับว่าห่างไกลกันมากท่าผู้นี้แต่งหนังสือไว้มากเรื่อง ด้วยกัน และถือกันว่าเป็นผู้ตั้งลัทธิ อัทไวตะ หรือ เอกนิยม คือ นับถือพระเจ้าองค์เดียวขึ้น


12.นาถมุนี (ค.ศ.824-ค.ศ.924) ถือกันว่าเป็นผู้นำคนแรกของลัทธิไวษณวะ


13.รามานุชาจารย์ (เกิด ค.ศ.1027 สิ้นชีพ ค.ศ.1137) ถือกันว่าเป็ฯคนสำคัญยิ่งของลัทธิไวษณวะและเจ้าของ ปรัชญาวิศิษฏาทไวตะ (เอกนิยมแบบพิเศษ) อันสืบเนื่องมาจากลัทธิเวทานตะ


14.มัธวาจารย์ (ค.ศ.1199-ค.ศ.1277) เป็นผู้นำท่านหนึ่งแห่งลัทธิไวษณะ และเจ้าของปรัชญาทไวตะ หรือทวินิยม อันสืบเนื่องมาจากลัทธิเวทานตะ


15.ลกุลีสะ (สมัยของท่านผู้นี้ยังไม่แน่) เป็นอาจารย์ใหญ่แห่งนิกายไศวะฝ่ายใต้ ผู้ตั้งนิกายปศุปตะ


16.วสุคุปตะ (ประมาณศตวรรษที่ 9 แห่ง ค.ศ.) เป็นผู้ตั้งลไศวะฝ่ายเหนือ หรือที่เรียกว่า กาษมีรไศวะ


17.รามโมหันรอย (ค.ศ.1774-1833) เป็นผู้ตั้งพรหมสมาช


18.สวามีทยานันทะสรัสวดี (ค.ศ.1824-1883) เป็นผู้ตั้งอารยสมาช

19.รามกฤษณะ (ค.ศ.1836-1886) เป็นผู้นำทางความรู้และการปฏิบัติเป็นต้นเหตุให้มีขยวนการรามกฤษณะมิชชั่น แม้ท่านจะมิได้ตั้งขึ้นเอง แต่สวามีวิเวกานันทะก็ตั้งขึ้นเพื่อเป็นเครื่องอนุสรณ์ถึง


แหล่ง ข้อมูล : โบสถ์พราหมณ์ เสาชิงช้า






__________________
Anonymous

Date:
Permalink   

sriganapati wrote:

พิธีประจำบ้านแบบฮินดู

พิธีนี้จำทำให้เฉพาะวรรณะกษัตริย์ วรรณะพราหมณ์ แบะวรรณะแพศย์ ซึ่งกำหนดไว้ให้มี 12 ประการ รวมเรียกว่า พิธีสังสการ ซึ่งมีการปฏิบัติตามลำดับขั้นดังนี้ คือ


ขั้นที่ 1 ครรภาธาน เป็นพิธีที่จัดขึ้นเมื่อทราบว่าตั้งครรภ์ ถัดจากวันวิวาห์
ขั้นที่ 2 ปุงสวันเป็นพิธีปฏิบัติต่อเด็กในครรภ์ที่เข้าใจว่าเป็นเพศชาย
ขั้นที่ 3 สีมันโตนยัน เป็นพิธีตัดผมหญิงมีครรภ์ เมื่อครรภ์ได้ 4,6หรือ 8 เดือน
ขั้นที่ 4 ชาตกรรม พิธีคลอดบุตร
ขั้นที่ 5 นามกรรม พิธีตั้งชื่อเด็ก ในวันที่ 12 หรือ 14 ถัดจากวันคลอด
ขั้นที่ 6 นิษกรมณ์ พิธีนำเด็กออกไปดูแสงอาทิตย์ยามเช้า เมื่ออายุได้ 4 เดือน
ขั้นที่ 7 อันนปราศัน พิธีป้อนข้าวเด็กเมื่ออายุได้ 5 เดือน หรือ 6 เดือน
ขั้นที่ 8 จูฑากรรม พิธีโกนผมไว้จุก เมื่ออายุได้ 3 ขวบ
ขั้นที่ 9 เกศานตกรม พิธีตัดผม ถ้าเป็นวรรณะพราหมณ์ตัดเมื่ออายุ 16 ปี ถ้าวรรณะกษัตริย์ตัดเมื่ออายุ 22 ปี ถ้าวรรณแพศย์ตัดเมื่ออายุ 24 ปี
ขั้นที่10 อุปนัยน์ พิธีเริ่มการศึกษาเพื่อเป็นพราหมณ์โดยคล้องด้ายยัชโญปวีต
ขั้นที่11 สมาวรรตน์ พิธีกลับบ้าน ปฏิบัติเมื่อสำเร็จการศึกษาจากสำนักครูแล้ว
ขั้นที่12 วิวาหะ พิธีแต่งงาน


b6.gif พิธีทั้ง 12 ประการนี้ ถ้าเป็นหญิงห้ามทำพิธีอุปนัยน์อย่างเดียว นอกนั้นทำได้หมดและห้ามสวดคัมภีร์พระเวท เพราะเป็นคัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ที่สงวนเฉพาะผู้ชายและคนบางวรรณะเท่านั้นในปัจจุบัน พวกพราหมณได้ลดพิธีปฏิบัติเหลือเพียง 4 อย่าง คือ

พิธีนามกรรม
อันนปราศัน
อุปนัยน์
วิวาหะ

พิธีศราท
เป็นพิธีสังเวยวิญญาณบรรพบุรุษด้วยข้าวบิณฑ์ (ก้อนข้าวสุก) เพื่อให้ผู้ตายไม่ต้องเป็นเปรตเร่รอน เมื่อได้รับข้าวแล้วจะ ได้ไปสู่สุคติอยู่ร่วมกับวิญญาณบรรพบุรุษ ผู้ทำศราทธ์ ถ้าเป็นลุกชายยิ่งจะช่วยให้พ่อพ้นขุนนรก ปุตตะ พิธีกระทำในวันที่หนึ่งก่อน วันเผาศพและวันที่ 11 นับจากวันตายจะทำพิธีใหญ่โดยญาติทั้งหญิงและชายสายบิดาและมารดาสืบขึ้นไป 3 ชั่วคนต้องมาร่วมพิธี ญาติเหล่านี้เรียกว่า


สบิณฑ์ แปลว่า ร่วมข้าวบิณฑ์ หลังจากนั้นทำพิธีเดือนละครั้งเอยไปตลอดไป แล้วจึงเปลี่ยนทำปีละครั้ง ถ้าหากทำพิธี เสร็จแล้วข้าวของเครื่องใช้จะต้องทิ้งในแม่น้ำหรือโคนต้นโพธิ์



พิธีบูชาเทวดา
เป็นพิธีที่มีหลากหลายตามชั้นวรรณะของตน ยิ่งวรรระต่ำยิ่งมีพิธีที่ผิดแปลกพิสดารออกไป แต่ถ้าเป็นพวกวรรณะสูงมีการปฏิบัติดังนี้ คือ


การสวดมนค์ภาวนา
การสมโภช ถือศีล และการกระทำพิธีกรรมในวันศักดิ์สิทธ์ ซึ่งแต่ละท้องที่อาจมีรูปแบบแตกต่างกันออกไป
การไปมนัสการบำเพ็ญกุศล ณ เทวสถาน



b6.gif ศาสนาพราหมณ์หรือฮินดูไม่มีศาสดาจริงจังเหมือนศาสนาอื่นๆ เพราะคำสอนต่างๆ กลุ่มพราหมรณ์หรือพระฤๅษีผู้ศักดิ์สิทธิ์ ได้ยินหรือฟังจากเสียงทิพย์หรือเสียงสวรรค์ (ศรุติ) ด้วยตนเอง แล้วมีการจดจำไว้หรือถ่ายทอดต่อกันทางความทรงจำ (สมฤติ) ต่อมามีหัวหน้าลัทธิหรือผู้คำสอนแพร่หลายยั่งยืนมาจนปัจจุบันนี้ ฉะนั้นในที่นี้ใคร่ขอรวบรวมสรุป กล่าวถึงผู้แต่งตำราหรือหัวหน้าลัทธิแทนชื่อ ประวัติของศาสดา


1.วยาสะ ท่านผู้นี้ตามตำนานในคัมภีร์วิษณุปราณะ เล่ม 3 กล่าวไว้ว่าเป็นผู้รวบรวมเรียบเรียงคัมภีร์พระเวท คัมภรีย์ อิติหาสะ และคัมภีร์อุปราณะ อนึ่งผู้แต่งมหากาพย์ มหาภารตะ ก็ใช้ชื่อวยาสะด้วยจึงเป็นอันรวมความได้อย่างหนึ่งว่า ท่านวยาสะผู้เป็นฤษี คนสำคัญมีส่วนแต่งหรือรวบรวเรียบเรียงคัมภีร์ของศาสนาฮินดูไว้มากที่สุด ท่านผู้นี้อย่างตำนาน กล่าวว่ามิใช่ฤษีธรรมดา แต่เป็นเทพ ฤษี (Divine sage) ไม่ปรากฏเดือนปีที่เกิดแน่นอนเพราะเป็นอดีตหลายพันปี


2.วาลมีกิ เป็นชื่อของพระฤๅษีผู้แต่งมหากาพย์รามายณะ สันนิษฐานว่าประมาณปลายศตวรรษที่ 4 และต้นศตวรรษที่ 3 ก่อน ค.ศ.


3.โคตมะ หรือเคาตมะ ผู้ตั้งลัทธินยายะ สันนิษฐานว่าเกิดประมาณ 550 ปี ก่อน ค.ศ.


4.กณาทะ ผู้ตั้งลัทธิไวเศษิกะ สันนิษฐานว่าเกิดประมาณศตวรรษที่ 3 ก่อน ค.ศ.


5.กปิละ ผู้ตั้งลัทธิสางขยะ สันนิษฐานว่าเกิดในสมัยศตวรรษที่ 6 ก่อน ค.ศ.


6.ปตัญชลี ผู้ตั้งลัทธิโยคะ สันนิษฐานว่าเกิดในสมัยศตวรรษที่ 3 หรือ 4 ก่อน ค.ศ.


7.ไชมินิ ผู้ตั้งลัทธิมีมางสา หรือปูรวมีมางสา สันนิษฐานว่าเกิดระหว่างศตวรรษที่ 6 ถึงศตวรรษที่ 2 ก่อน ค.ศ.


8.พาทรายณะ ผู้ตั้งลิทธิเวทานตะหรืออุตตรมีมางสามีผู้กล่าวว่าเป็นครูเดียวกับวยาสะ และเกิดระหว่างศตวรรษที่ 6 ถึงศตวรรษที่ 2 ก่อน ค.ศ. บางท่านก็สันนิษฐานว่าเกิดระหว่างศตวรรษที่ 5 ถึงศตวรรษที่ 2 ก่อน ค.ศ.


9.มนุหรือมนู ผู้แต่งคัมภีร์ธรรมศาสตร์ สันนิษฐานว่าเกิดในสมัยศตวรรษที่ 5 ก่อน ค.ศ.


10.จารวากะ ผู้ให้กำเนิดลัทธิโลกายตะ หรือวัตถุนิยม ไม่มีประวัติแน่นอน มีแต่นิยายในคัมภีร์มหาภารตะว่าเป็น รากษส ปลอมเป็นพราหมณ์ไปแสดงลัทธินี้แล้วถูกฆ่าตาย ฉะนั้นจะว่าเป็นศาสดาก็ไม่ถนัดนักเพราะถูกกล่าวถึงในทาง เป็นผู้ร้ายมากกว่า


11.สังกราจารย์ ผู้แต่งอรรถกถาหรือคำอธิบายลัทธิเวทานตะ สันนิษฐานว่าเกิดระหว่าง ค.ศ. 788 ถึง ค.ศ. 820 แต่ เรื่องเล่ากล่าวกับสืบมาว่า ท่านผู้นี้เกิดในสมัย 200 ปี ก่อน ค.ศ. ซึ่งนับว่าห่างไกลกันมากท่าผู้นี้แต่งหนังสือไว้มากเรื่อง ด้วยกัน และถือกันว่าเป็นผู้ตั้งลัทธิ อัทไวตะ หรือ เอกนิยม คือ นับถือพระเจ้าองค์เดียวขึ้น


12.นาถมุนี (ค.ศ.824-ค.ศ.924) ถือกันว่าเป็นผู้นำคนแรกของลัทธิไวษณวะ


13.รามานุชาจารย์ (เกิด ค.ศ.1027 สิ้นชีพ ค.ศ.1137) ถือกันว่าเป็ฯคนสำคัญยิ่งของลัทธิไวษณวะและเจ้าของ ปรัชญาวิศิษฏาทไวตะ (เอกนิยมแบบพิเศษ) อันสืบเนื่องมาจากลัทธิเวทานตะ


14.มัธวาจารย์ (ค.ศ.1199-ค.ศ.1277) เป็นผู้นำท่านหนึ่งแห่งลัทธิไวษณะ และเจ้าของปรัชญาทไวตะ หรือทวินิยม อันสืบเนื่องมาจากลัทธิเวทานตะ


15.ลกุลีสะ (สมัยของท่านผู้นี้ยังไม่แน่) เป็นอาจารย์ใหญ่แห่งนิกายไศวะฝ่้ ผู้ตั้งนิกายปศุปตะ


16.วสุคุปตะ (ประมาณศตวรรษที่ 9 แห่ง ค.ศ.) เป็นผู้ตั้งลัทธิไศวะฝ่ายเหนือ หรือที่เรียกว่า กาษมีรไศวะ


17.รามโมหันรอย (ค.ศ.1774-1833) เป็นผู้ตั้งพรหมสมาช


18.สวามีทยานันทะสรัสวดี (ค.ศ.1824-1883) เป็นผู้ตั้งอารยสมาช

19.รามกฤษณะ (ค.ศ.1836-1886) เป็นผู้นำทางความรู้และการปฏิบัติเป็นต้นเหตุให้มีขยวนการรามกฤษณะมิชชั่น แม้ท่านจะมิได้ตั้งขึ้นเอง แต่สวามีวิเวกานันทะก็ตั้งขึ้นเพื่อเป็นเครื่องอนุสรณ์ถึง


แหล่ง ข้อมูล : โบสถ์พราหมณ์ เสาชิงช้า






__________________
Anonymous

Date:
Permalink   

sriganapati wrote:

พิธีประจำบ้านแบบฮินดู

พิธีนี้จำทำให้เฉพาะวรรณะกษัตริย์ วรรณะพราหมณ์ แบะวรรณะแพศย์ ซึ่งกำหนดไว้ให้มี 12 ประการ รวมเรียกว่า พิธีสังสการ ซึ่งมีการปฏิบัติตามลำดับขั้นดังนี้ คือ


ขั้นที่ 1 ครรภาธาน เป็นพิธีที่จัดขึ้นเมื่อทราบว่าตั้งครรภ์ ถัดจากวันวิวาห์
ขั้นที่ 2 ปุงสวันเป็นพิธีปฏิบัติต่อเด็กในครรภ์ที่เข้าใจว่าเป็นเพศชาย
ขั้นที่ 3 สีมันโตนยัน เป็นพิธีตัดผมหญิงมีครรภ์ เมื่อครรภ์ได้ 4,6หรือ 8 เดือน
ขั้นที่ 4 ชาตกรรม พิธีคลอดบุตร
ขั้นที่ 5 นามกรรม พิธีตั้งชื่อเด็ก ในวันที่ 12 หรือ 14 ถัดจากวันคลอด
ขั้นที่ 6 นิษกรมณ์ พิธีนำเด็กออกไปดูแสงอาทิตย์ยามเช้า เมื่ออายุได้ 4 เดือน
ขั้นที่ 7 อันนปราศัน พิธีป้อนข้าวเด็กเมื่ออายุได้ 5 เดือน หรือ 6 เดือน
ขั้นที่ 8 จูฑากรรม พิธีโกนผมไว้จุก เมื่ออายุได้ 3 ขวบ
ขั้นที่ 9 เกศานตกรม พิธีตัดผม ถ้าเป็นวรรณะพราหมณ์ตัดเมื่ออายุ 16 ปี ถ้าวรรณะกษัตริย์ตัดเมื่ออายุ 22 ปี ถ้าวรรณแพศย์ตัดเมื่ออายุ 24 ปี
ขั้นที่10 อุปนัยน์ พิธีเริ่มการศึกษาเพื่อเป็นพราหมณ์โดยคล้องด้ายยัชโญปวีต
ขั้นที่11 สมาวรรตน์ พิธีกลับบ้าน ปฏิบัติเมื่อสำเร็จการศึกษาจากสำนักครูแล้ว
ขั้นที่12 วิวาหะ พิธีแต่งงาน


b6.gif พิธีทั้ง 12 ประการนี้ ถ้าเป็นหญิงห้ามทำพิธีอุปนัยน์อย่างเดียว นอกนั้นทำได้หมดและห้ามสวดคัมภีร์พระเวท เพราะเป็นคัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ที่สงวนเฉพาะผู้ชายและคนบางวรรณะเท่านั้นในปัจจุบัน พวกพราหมณได้ลดพิธีปฏิบัติเหลือเพียง 4 อย่าง คือ

พิธีนามกรรม
อันนปราศัน
อุปนัยน์
วิวาหะ

พิธีศราท
เป็นพิธีสังเวยวิญญาณบรรพบุรุษด้วยข้าวบิณฑ์ (ก้อนข้าวสุก) เพื่อให้ผู้ตายไม่ต้องเป็นเปรตเร่รอน เมื่อได้รับข้าวแล้วจะ ได้ไปสู่สุคติอยู่ร่วมกับวิญญาณบรรพบุรุษ ผู้ทำศราทธ์ ถ้าเป็นลุกชายยิ่งจะช่วยให้พ่อพ้นขุนนรก ปุตตะ พิธีกระทำในวันที่หนึ่งก่อน วันเผาศพและวันที่ 11 นับจากวันตายจะทำพิธีใหญ่โดยญาติทั้งหญิงและชายสายบิดาและมารดาสืบขึ้นไป 3 ชั่วคนต้องมาร่วมพิธี ญาติเหล่านี้เรียกว่า


สบิณฑ์ แปลว่า ร่วมข้าวบิณฑ์ หลังจากนั้นทำพิธีเดือนละครั้งเอยไปตลอดไป แล้วจึงเปลี่ยนทำปีละครั้ง ถ้าหากทำพิธี เสร็จแล้วข้าวของเครื่องใช้จะต้องทิ้งในแม่น้ำหรือโคนต้นโพธิ์



พิธีบูชาเทวดา
เป็นพิธีที่มีหลากหลายตามชั้นวรรณะของตน ยิ่งวรรระต่ำยิ่งมีพิธีที่ผิดแปลกพิสดารออกไป แต่ถ้าเป็นพวกวรรณะสูงมีการปฏิบัติดังนี้ คือ


การสวดมนค์ภาวนา
การสมโภช ถือศีล และการกระทำพิธีกรรมในวันศักดิ์สิทธ์ ซึ่งแต่ละท้องที่อาจมีรูปแบบแตกต่างกันออกไป
การไปมนัสการบำเพ็ญกุศล ณ เทวสถาน



b6.gif ศาสนาพราหมณ์หรือฮินดูไม่มีศาสดาจริงจังเหมือนศาสนาอื่นๆ เพราะคำสอนต่างๆ กลุ่มพราหมรณ์หรือพระฤๅษีผู้ศักดิ์สิทธิ์ ได้ยินหรือฟังจากเสียงทิพย์หรือเสียงสวรรค์ (ศรุติ) ด้วยตนเอง แล้วมีการจดจำไว้หรือถ่ายทอดต่อกันทางความทรงจำ (สมฤติ) ต่อมามีหัวหน้าลัทธิหรือผู้คำสอนแพร่หลายยั่งยืนมาจนปัจจุบันนี้ ฉะนั้นในที่นี้ใคร่ขอรวบรวมสรุป กล่าวถึงผู้แต่งตำราหรือหัวหน้าลัทธิแทนชื่อ ประวัติของศาสดา


1.วยาสะ ท่านผู้นี้ตามตำนานในคัมภีร์วิษณุปราณะ เล่ม 3 กล่าวไว้ว่าเป็นผู้รวบรวมเรียบเรียงคัมภีร์พระเวท คัมภรีย์ อิติหาสะ และคัมภีร์อุปราณะ อนึ่งผู้แต่งมหากาพย์ มหาภารตะ ก็ใช้ชื่อวยาสะด้วยจึงเป็นอันรวมความได้อย่างหนึ่งว่า ท่านวยาสะผู้เป็นฤษี คนสำคัญมีส่วนแต่งหรือรวบรวเรียบเรียงคัมภีร์ของศาสนาฮินดูไว้มากที่สุด ท่านผู้นี้อย่างตำนาน กล่าวว่ามิใช่ฤษีธรรมดา แต่เป็นเทพ ฤษี (Divine sage) ไม่ปรากฏเดือนปีที่เกิดแน่นอนเพราะเป็นอดีตหลายพันปี


2.วาลมีกิ เป็นชื่อของพระฤๅษีผู้แต่งมหากาพย์รามายณะ สันนิษฐานว่าประมาณปลายศตวรรษที่ 4 และต้นศตวรรษที่ 3 ก่อน ค.ศ.


3.โคตมะ หรือเคาตมะ ผู้ตั้งลัทธินยายะ สันนิษฐานว่าเกิดประมาณ 550 ปี ก่อน ค.ศ.


4.กณาทะ ผู้ตั้งลัทธิไวเศษิกะ สันนิษฐานว่าเกิดประมาณศตวรรษที่ 3 ก่อน ค.ศ.


5.กปิละ ผู้ตั้งลัทธิสางขยะ สันนิษฐานว่าเกิดในสมัยศตวรรษที่ 6 ก่อน ค.ศ.


6.ปตัญชลี ผู้ตั้งลัทธิโยคะ สันนิษฐานว่าเกิดในสมัยศตวรรษที่ 3 หรือ 4 ก่อน ค.ศ.


7.ไชมินิ ผู้ตั้งลัทธิมีมางสา หรือปูรวมีมางสา สันนิษฐานว่าเกิดระหว่างศตวรรษที่ 6 ถึงศตวรรษที่ 2 ก่อน ค.ศ.


8.พาทรายณะ ผู้ตั้งลิทธิเวทานตะหรืออุตตรมีมางสามีผู้กล่าวว่าเป็นครูเดียวกับวยาสะ และเกิดระหว่างศตวรรษที่ 6 ถึงศตวรรษที่ 2 ก่อน ค.ศ. บางท่านก็สันนิษฐานว่าเกิดระหว่างศตวรรษที่ 5 ถึงศตวรรษที่ 2 ก่อน ค.ศ.


9.มนุหรือมนู ผู้แต่งคัมภีร์ธรรมศาสตร์ สันนิษฐานว่าเกิดในสมัยศตวรรษที่ 5 ก่อน ค.ศ.


10.จารวากะ ผู้ให้กำเนิดลัทธิโลกายตะ หรือวัตถุนิยม ไม่มีประวัติแน่นอน มีแต่นิยายในคัมภีร์มหาภารตะว่าเป็น รากษส ปลอมเป็นพราหมณ์ไปแสดงลัทธินี้แล้วถูกฆ่าตาย ฉะนั้นจะว่าเป็นศาสดาก็ไม่ถนัดนักเพราะถูกกล่าวถึงในทาง เป็นผู้ร้ายมากกว่า


11.สังกราจารย์ ผู้แต่งอรรถกถาหรือคำอธิบายลัทธิเวทานตะ สันนิษฐานว่าเกิดระหว่าง ค.ศ. 788 ถึง ค.ศ. 820 แต่ เรื่องเล่ากล่าวกับสืบมาว่า ท่านผู้นี้เกิดในสมัย 200 ปี ก่อน ค.ศ. ซึ่งนับว่าห่างไกลกันมากท่าผู้นี้แต่งหนังสือไว้มากเรื่อง ด้วยกัน และถือกันว่าเป็นผู้ตั้งลัทธิ อัทไวตะ หรือ เอกนิยม คือ นับถือพระเจ้าองค์เดียวขึ้น


12.นาถมุนี (ค.ศ.824-ค.ศ.924) ถือกันว่าเป็นผู้นำคนแรกของลัทธิไวษณวะ


13.รามานุชาจารย์ (เกิด ค.ศ.1027 สิ้นชีพ ค.ศ.1137) ถือกันว่าเป็ฯคนสำคัญยิ่งของลัทธิไวษณวะและเจ้าของ ปรัชญาวิศิษฏาทไวตะ (เอกนิยมแบบพิเศษ) อันสืบเนื่องมาจากลัทธิเวทานตะ


14.มัธวาจารย์ (ค.ศ.1199-ค.ศ.1277) เป็นผู้นำท่านหนึ่งแห่งลัทธิไวษณะ และเจ้าของปรัชญาทไวตะ หรือทวินิยม อันสืบเนื่องมาจากลัทธิเวทานตะ


15.ลกุลีสะ (สมัยของท่านผู้นี้ยังไม่แน่) เป็นอาจารย์ใหญ่แห่งนิกายไศวะฝ่้ ผู้ตั้งนิกายปศุปตะ


16.วสุคุปตะ (ประมาณศตวรรษที่ 9 แห่ง ค.ศ.) เป็นผู้ตั้งลัทธิไศวะฝ่ายเหนือ หรือที่เรียกว่า กาษมีรไศวะ


17.รามโมหันรอย (ค.ศ.1774-1833) เป็นผู้ตั้งพรหมสมาช


18.สวามีทยานันทะสรัสวดี (ค.ศ.1824-1883) เป็นผู้ตั้งอารยสมาช

19.รามกฤษณะ (ค.ศ.1836-1886) เป็นผู้นำทางความรู้และการปฏิบัติเป็นต้นเหตุให้มีขยวนการรามกฤษณะมิชชั่น แม้ท่านจะมิได้ตั้งขึ้นเอง แต่สวามีวิเวกานันทะก็ตั้งขึ้นเพื่อเป็นเครื่องอนุสรณ์ถึง


แหล่ง ข้อมูล : โบสถ์พราหมณ์ เสาชิงช้า






__________________
Anonymous

Date:
Permalink   

disbeliefnoconfusebiggrinevileyeyawnhmmwinkblankstareawwfuriouscrysmileblehashameddohsriganapati wrote:

พิธีประจำบ้านแบบฮินดู

พิธีนี้จำทำให้เฉพาะวรรณะกษัตริย์ วรรณะพราหมณ์ แบะวรรณะแพศย์ ซึ่งกำหนดไว้ให้มี 12 ประการ รวมเรียกว่า พิธีสังสการ ซึ่งมีการปฏิบัติตามลำดับขั้นดังนี้ คือ


ขั้นที่ 1 ครรภาธาน เป็นพิธีที่จัดขึ้นเมื่อทราบว่าตั้งครรภ์ ถัดจากวันวิวาห์
ขั้นที่ 2 ปุงสวันเป็นพิธีปฏิบัติต่อเด็กในครรภ์ที่เข้าใจว่าเป็นเพศชาย
ขั้นที่ 3 สีมันโตนยัน เป็นพิธีตัดผมหญิงมีครรภ์ เมื่อครรภ์ได้ 4,6หรือ 8 เดือน
ขั้นที่ 4 ชาตกรรม พิธีคลอดบุตร
ขั้นที่ 5 นามกรรม พิธีตั้งชื่อเด็ก ในวันที่ 12 หรือ 14 ถัดจากวันคลอด
ขั้นที่ 6 นิษกรมณ์ พิธีนำเด็กออกไปดูแสงอาทิตย์ยามเช้า เมื่ออายุได้ 4 เดือน
ขั้นที่ 7 อันนปราศัน พิธีป้อนข้าวเด็กเมื่ออายุได้ 5 เดือน หรือ 6 เดือน
ขั้นที่ 8 จูฑากรรม พิธีโกนผมไว้จุก เมื่ออายุได้ 3 ขวบ
ขั้นที่ 9 เกศานตกรม พิธีตัดผม ถ้าเป็นวรรณะพราหมณ์ตัดเมื่ออายุ 16 ปี ถ้าวรรณะกษัตริย์ตัดเมื่ออายุ 22 ปี ถ้าวรรณแพศย์ตัดเมื่ออายุ 24 ปี
ขั้นที่10 อุปนัยน์ พิธีเริ่มการศึกษาเพื่อเป็นพราหมณ์โดยคล้องด้ายยัชโญปวีต
ขั้นที่11 สมาวรรตน์ พิธีกลับบ้าน ปฏิบัติเมื่อสำเร็จการศึกษาจากสำนักครูแล้ว
ขั้นที่12 วิวาหะ พิธีแต่งงาน


b6.gif พิธีทั้ง 12 ประการนี้ ถ้าเป็นหญิงห้ามทำพิธีอุปนัยน์อย่างเดียว นอกนั้นทำได้หมดและห้ามสวดคัมภีร์พระเวท เพราะเป็นคัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ที่สงวนเฉพาะผู้ชายและคนบางวรรณะเท่านั้นในปัจจุบัน พวกพราหมณได้ลดพิธีปฏิบัติเหลือเพียง 4 อย่าง คือ

พิธีนามกรรม
อันนปราศัน
อุปนัยน์
วิวาหะ

พิธีศราท
เป็นพิธีสังเวยวิญญาณบรรพบุรุษด้วยข้าวบิณฑ์ (ก้อนข้าวสุก) เพื่อให้ผู้ตายไม่ต้องเป็นเปรตเร่รอน เมื่อได้รับข้าวแล้วจะ ได้ไปสู่สุคติอยู่ร่วมกับวิญญาณบรรพบุรุษ ผู้ทำศราทธ์ ถ้าเป็นลุกชายยิ่งจะช่วยให้พ่อพ้นขุนนรก ปุตตะ พิธีกระทำในวันที่หนึ่งก่อน วันเผาศพและวันที่ 11 นับจากวันตายจะทำพิธีใหญ่โดยญาติทั้งหญิงและชายสายบิดาและมารดาสืบขึ้นไป 3 ชั่วคนต้องมาร่วมพิธี ญาติเหล่านี้เรียกว่า


สบิณฑ์ แปลว่า ร่วมข้าวบิณฑ์ หลังจากนั้นทำพิธีเดือนละครั้งเอยไปตลอดไป แล้วจึงเปลี่ยนทำปีละครั้ง ถ้าหากทำพิธี เสร็จแล้วข้าวของเครื่องใช้จะต้องทิ้งในแม่น้ำหรือโคนต้นโพธิ์



พิธีบูชาเทวดา
เป็นพิธีที่มีหลากหลายตามชั้นวรรณะของตน ยิ่งวรรระต่ำยิ่งมีพิธีที่ผิดแปลกพิสดารออกไป แต่ถ้าเป็นพวกวรรณะสูงมีการปฏิบัติดังนี้ คือ


การสวดมนค์ภาวนา
การสมโภช ถือศีล และการกระทำพิธีกรรมในวันศักดิ์สิทธ์ ซึ่งแต่ละท้องที่อาจมีรูปแบบแตกต่างกันออกไป
การไปมนัสการบำเพ็ญกุศล ณ เทวสถาน



b6.gif ศาสนาพราหมณ์หรือฮินดูไม่มีศาสดาจริงจังเหมือนศาสนาอื่นๆ เพราะคำสอนต่างๆ กลุ่มพราหมรณ์หรือพระฤๅษีผู้ศักดิ์สิทธิ์ ได้ยินหรือฟังจากเสียงทิพย์หรือเสียงสวรรค์ (ศรุติ) ด้วยตนเอง แล้วมีการจดจำไว้หรือถ่ายทอดต่อกันทางความทรงจำ (สมฤติ) ต่อมามีหัวหน้าลัทธิหรือผู้แให้คำสอนแพร่หลายยั่งยืนมาจนปัจจุบันนี้ ฉะนั้นในที่นี้ใคร่ขอรวบรวมสรุป กล่าวถึงผู้แต่งตำราหรือหัวหน้าลัทธิแทนชื่อ ประวัติของศาสดา


1.วยาสะ ท่านผู้นี้ตามตำนานในคัมภีร์วิษณุปราณะ เล่ม 3 กล่าวไว้ว่าเป็นผู้รวบรวมเรียบเรียงคัมภีร์พระเวท คัมภรีย์ อิติหาสะ และคัมภีร์อุปราณะ อนึ่งผู้แต่งมหากาพย์ มหาภารตะ ก็ใช้ชื่อวยาสะด้วยจึงเป็นอันรวมความได้อย่างหนึ่งว่า ท่านวยาสะผู้เป็นฤษี คนสำคัญมีส่วนแต่งหรือรวบรวเรียบเรียงคัมภีร์ของศาสนาฮินดูไว้มากที่สุด ท่านผู้นี้อย่างตำนาน กล่าวว่ามิใช่ฤษีธรรมดา แต่เป็นเทพ ฤษี (Divine sage) ไม่ปรากฏเดือนปีที่เกิดแน่นอนเพราะเป็นอดีตหลายพันปี


2.วาลมีกิ เป็นชื่อของพระฤๅษีผู้แต่งมหากาพย์รามายณะ สันนิษฐานว่าประมาณปลายศตวรรษที่ 4 และต้นศตวรรษที่ 3 ก่อน ค.ศ.


3.โคตมะ หรือเคาตมะ ผู้ตั้งลัทธินยายะ สันนิษฐานว่าเกิดประมาณ 550 ปี ก่อน ค.ศ.


4.กณาทะ ผู้ตั้งลัทธิไวเศษิกะ สันนิษฐานว่าเกิดประมาณศตวรรษที่ 3 ก่อน ค.ศ.


5.กปิละ ผู้ตั้งลัทธิสางขยะ สันนิษฐานว่าเกิดในสมัยศตวรรษที่ 6 ก่อน ค.ศ.


6.ปตัญชลี ผู้ตั้งลัทธิโยคะ สันนิษฐานว่าเกิดในสมัยศตวรรษที่ 3 หรือ 4 ก่อน ค.ศ.


7.ไชมินิ ผู้ตั้งลัทธิมีมางสา หรือปูรวมีมางสา สันนิษฐานว่าเกิดระหว่างศตวรรษที่ 6 ถึงศตวรรษที่ 2 ก่อน ค.ศ.


8.พาทรายณะ ผู้ตั้งลิทธิเวทานตะหรืออุตตรมีมางสามีผู้กล่าวว่าเป็นครูเดียวกับวยาสะ และเกิดระหว่างศตวรรษที่ 6 ถึงศตวรรษที่ 2 ก่อน ค.ศ. บางท่านก็สันนิษฐานว่าเกิดระหว่างศตวรรษที่ 5 ถึงศตวรรษที่ 2 ก่อน ค.ศ.


9.มนุหรือมนู ผู้แต่งคัมภีร์ธรรมศาสตร์ สันนิษฐานว่าเกิดในสมัยศตวรรษที่ 5 ก่อน ค.ศ.


10.จารวากะ ผู้ให้กำเนิดลัทธิโลกายตะ หรือวัตถุนิยม ไม่มีประวัติแน่นอน มีแต่นิยายในคัมภีร์มหาภารตะว่าเป็น รากษส ปลอมเป็นพราหมณ์ไปแสดงลัทธินี้แล้วถูกฆ่าตาย ฉะนั้นจะว่าเป็นศาสดาก็ไม่ถนัดนักเพราะถูกกล่าวถึงในทาง เป็นผู้ร้ายมากกว่า


11.สังกราจารย์ ผู้แต่งอรรถกถาหรือคำอธิบายลัทธิเวทานตะ สันนิษฐานว่าเกิดระหว่าง ค.ศ. 788 ถึง ค.ศ. 820 แต่ เรื่องเล่ากล่าวกับสืบมาว่า ท่านผู้นี้เกิดในสมัย 200 ปี ก่อน ค.ศ. ซึ่งนับว่าห่างไกลกันมากท่าผู้นี้แต่งหนังสือไว้มากเรื่อง ด้วยกัน และถือกันว่าเป็นผู้ตั้งลัทธิ อัทไวตะ หรือ เอกนิยม คือ นับถือพระเจ้าองค์เดียวขึ้น


12.นาถมุนี (ค.ศ.824-ค.ศ.924) ถือกันว่าเป็นผู้นำคนแรกของลัทธิไวษณวะ


13.รามานุชาจารย์ (เกิด ค.ศ.1027 สิ้นชีพ ค.ศ.1137) ถือกันว่าเป็ฯคนสำคัญยิ่งของลัทธิไวษณวะและเจ้าของ ปรัชญาวิศิษฏาทไวตะ (เอกนิยมแบบพิเศษ) อันสืบเนื่องมาจากลัทธิเวทานตะ


14.มัธวาจารย์ (ค.ศ.1199-ค.ศ.1277) เป็นผู้นำท่านหนึ่งแห่งลัทธิไวษณะ และเจ้าของปรัชญาทไวตะ หรือทวินิยม อันสืบเนื่องมาจากลัทธิเวทานตะ


15.ลกุลีสะ (สมัยของท่านผู้นี้ยังไม่แน่) เป็นอาจารย์ใหญ่แห่งนิกายไศวะฝ่ายใต้ ผู้ตั้งนิกายปศุปตะ


16.วสุคุปตะ (ประมาณศตวรรษที่ 9 แห่ง ค.ศ.) เป็นผู้ตั้งลัทธิไศวะฝ่ายเหนือ หรือที่เรียกว่า กาษมีรไศวะ


17.รามโมหันรอย (ค.ศ.1774-1833) เป็นผู้ตั้งพรหมสมาช


18.สวามีทยานันทะสรัสวดี (ค.ศ.1824-1883) เป็นผู้ตั้งอารยสมาช

19.รามกฤษณะ (ค.ศ.1836-1886) เป็นผู้นำทางความรู้และการปฏิบัติเป็นต้นเหตุให้มีขยวนการรามกฤษณะมิชชั่น แม้ท่านจะมิได้ตั้งขึ้นเอง แต่สวามีวิเวกานันทะก็ตั้งขึ้นเพื่อเป็นเครื่องอนุสรณ์ถึง


แหล่ง ข้อมูล : โบสพราหมณ์ เสาชิงช้า






__________________
Page 1 of 1  sorted by
 
Quick Reply

Please log in to post quick replies.

Tweet this page Post to Digg Post to Del.icio.us


Create your own FREE Forum
Report Abuse
Powered by ActiveBoard